ค้นหาบล็อกนี้

วันอังคารที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2558

ประเด็นความยุติธรรม (Justice) A Harvard Professor gives a lecture on Philosophy that garners a long applause.

การกำหนดหัวข้อการวิจัย
หัวข้อการวิจัยเกิดขึ้นจากแนวคิด หรือความคิดได้อย่างไร

- เกิดจากประสบการณ์ชีวิต
- เกิดจากการพบปะกับผู้อื่น
- เกิดจากรูปแบบหรือองค์กรทางสังคมที่เราเป็นสมาชิก
- ประเด็น (Issues)ทางสังคมในปัจจุบันอาจจะช่วยให้เราได้ความคิดในการวิจัยทางสังคมได้อย่างไร
เราจะช่วยให้นักศึกษาคิดอย่างจริงจังว่ามีประเด็นอะไรที่น่าจำการแสวงหาความจริง ถ้านักศึกษายังมองไม่ออกว่าชีวิตของตนมีความเกี่ยวข้องกับความขัดอกขัดใจกับกิจกรรมการแสวงหาความจริงแล้ว นักศึกษาก็จะไม่ทำการแสวงหาความจริงอย่างทุ่มเทเต็มความสามารถ
วิธีหนึ่งที่จะเรียนรู้การวิจัยก็คือการศึกษางานวิจัยที่ดี ดังนั้นเราจะเริ่มต้นที่ตัวอย่างงานวิจัยในอดีตที่สำคัญๆ สามวิธี (Three Research Methods) คือการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) การวิจัยแบบทดลอง (Experiments) และการวิจัยสนาม (Field Research)

แต่ตอนนี้ เราจะทำการศึกษาประเด็นอันเป็นเรื่องที่ขัดอกขัดใจเรื่องหนึ่งในสังคม คือ เป็น Social Issue

ทั้งนี้ เพื่อที่จะเป็นแหล่งที่มาของหัวข้อการวิจัย และปัญหาการวิจัย (Research Problems)
ลองติดตามคำบรรยายของอาจารย์จาก ฮาวาร์ด ครับ


ปัญหาเรื่องความยุติธรรม (Justice)